สถานภาพ หมาย ถึง

สถานภาพ หมาย ถึง

สถานภาพ หมาย ถึง ฐานะหรือเกียรติภูมิของบุคคลหรือกลุ่ม เป็นตําแหน่งของบุคคลหนึ่งหรือกลุ่มหนึ่งที่ได้รับ ความนับถือจากสาธารณชน กล่าวโดยสรุป สถานภาพเป็นสิ่งที่สังคมกําหนดขึ้น เป็นสิ่งกําหนดเฉพาะตัวบุคคลที่ทําให้แตกต่างจากผู้อื่น จารีตประเพณี

สถานภาพแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ

  1. สถานภาพที่ติดตัวมาแต่กําเนิด ได้แก่
  • สถานภาพทางวงศาคณาญาติ เช่น เป็นลูก หลาน พี่น้อง 
  • สถานภาพทางเพศ เช่น เพศหญิง เพศชาย 
  • สถานภาพทางอายุ เช่น เด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่ 
  • สถานภาพทางเชื้อชาติ เช่น คนไทย คนอังกฤษ 
  • สถานภาพทางถิ่นกําเนิด เช่น คนในภาคเหนือ คนในภาคใต้ 
  • สถานภาพทางชนชั้นในสังคม เช่น เชื้อพระวงศ์ คหบดี หรือชนชั้นต่างๆ ในกลุ่มชนที่

นับถือศาสนาฮินดู เช่น ชนชั้นพราหมณ์ 

  1. สถานภาพที่ได้มาภายหลัง หมายถึง สถานภาพที่ได้จากการแสวงหาหรือได้มาจากความสามารถ ของตนเอง ได้แก่
  • สถานภาพทางการศึกษา เช่น จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก 
  • สถานภาพทางอาชีพ เช่น เป็นครู เป็นหมอ หรือนักการเมือง 
  • สถานภาพทางการเมือง เช่น เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เป็นนายกรัฐมนตรี 
  • สถานภาพทางการสมรส เช่น โสด สมรส ม่าย

การเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมไทยและสังคมโลก

การที่บุคคลจะเป็นสมาชกที่ดีของสังคมไทยและสังคมโลก จะต้องคำนึงถึงสถานภาพ หมาย ถึง สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ในการปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดี

ความหมายของสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่

  1. สถานภาพ หมาย ถึง ตำแหน่งที่บุคคลได้รับจากการเป็นสมาชิกของสังคม แบ่งออกเป็นสถานภาพที่ได้มาโดยกำเนิด เช่น ลูก หลาน คนไทย เป็นต้น และสถานภาพ หมาย ถึง ทางสังคม เช่น ครู นักเรียน แพทย์ เป็นต้น
  2. บทบาท หมายถึง การปฏิบัติตามสิทธิ หน้าที่อันเนื่องมาจากสถานภาพของบุคคล เนื่องจากบุคคลมีหลายสถานภาพ ในคนคนเดียว ฉะนั้นบทบาทของบุคคลจึงต้องปฏิบัติไปตามสถานภาพในสถานการณ์ตามสถานภาพนั้น ๆ
  3. สิทธิ หมายถึง อำนาจหรือผลประโยชน์ของบุคคลที่กฎหมายให้ความคุ้มครอง เช่น สิทธิเลือกตั้ง กฎหมายกำหนดให้บุคคลที่มีอายุ 18 ปีบริบูรณ์มีคุณสมบัติถูกต้องตามกฎหมายมีสิทธิเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
  4. เสรีภาพ หมายถึง ความมีอิสระในการกระทำของบุคคลที่อยู่ในของเขตของกฎหมาย เช่น เสรีภาพในการพูด การเขียน เป็นต้น
  5. หน้าที่ หมายถึง ภาระรับผิดชอบของบุคคลที่จะต้องปฏิบัติ เช่น หน้าที่ของบิดาที่มีต่อบุตร เป็นต้น ความสอดคล้องของสถานภาพและบทบาทของบุคคลในวิถีชีวิตประชาธิปไตย สถานภาพและบทบาทของบุคคลที่สอดคล้องกัน เช่น

พ่อ แม่ ควรมีบทบาทดังนี้

  • รับผิดชอบในการอบรมสั่งสอนสมาชิกในครอบครัว
  • ให้การศึกษาต่อสมาชิกของครอบครัว
  • จัดสรรงบประมาณของครอบครัวให้เหมาะสมกับเศรษฐกิจของสังคมและโลก
  • ครองตนเป็นแบบอย่างที่ดีความรักต่อบุตร

รงเรียน และชุมชน สถานภาพ หมาย ถึง

ครู – อาจารย์ ควรมีบทบาท ดังนี้

  • ถ่ายทอดความรู้แก่ศิษย์โดยกระบวนการที่หลากหลายให้เหมาะสมกับความสามารถและความสนใจของนักเรียน
  • สถานภาพ หมาย ถึง ครองตนให้เหมาะสมและเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์
  • เป็นผู้เสียสละทั้งเวลาและอดทนในการสั่งสอนศิษย์ทั้งด้านความประพฤติและการศึกษา
  • ยึดมั่นในระเบียบวินัย ตลอดจนปฏิบัติตามจรรยาบรรณครู

นักเรียน ควรมีบทบาท ดังนี้

  • ยึดมั่นในคุณธรรมจริยธรรมและระเบียบของโรงเรียน
  • รับผิดชอบต่อหน้าที่ในการศึกษาหาความรู้
  • ให้ความเคารพต่อบุคคลที่อาวุโสโดยมีมารยาทที่เหมาะสมกับสถานการณ์
  • รับฟังและปฏิบัติตามคำสั่งสอนอย่างมีเหตุผล
  • ขยันหมั่นเพียรในการแสดงหาความรู้เพิ่มเติม

เสริมสร้างความสามัคคีในครอบครัว โรงเรียน และชุมชน สถานภาพ หมาย ถึง